Tuesday, March 19, 2024
Home > สุขภาพจิตคืออะไรเรามีคำตอบ > ลักษณะของโรคประสาทและวิธีการรักษาที่ถูกต้อง

ลักษณะของโรคประสาทและวิธีการรักษาที่ถูกต้อง

neuralgia-image

เมื่อพูดถึงโรคประสาททุกคนก็คงพอจะเข้าใจกันดีว่านี่คือโรคชนิดหนึ่งที่มีต้นตอมาจากเรื่องของสมอง ซึ่ก็สามารถเกิดขึ้นได้จากปัจจัยหลากหลายประการไม่ว่าจะเป็นคนที่คิดมากจนเกินกว่าเหตุ คนที่เกิดอาการตกใจ หวาดกลัวจนสุดขีดทำให้สมองเลอะเลือน อายุที่มากขึ้น การใช้ชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เช่น ดื่มเหล้า สูบบุหรี่จัด หรือแม้แต่การได้รับการกระทบกระเทือนทางสมองก็นับว่าเป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคประสาทเช่นเดียวกัน
ประเภทของโรคประสาทที่มักพบเห็น

neuralgia-pic
1.    ประเภทวิตกกังวล – เป็นโรคประสาทที่เกิดจากสภาวะของความเครียดหรือความวิตกกังวลเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างหนัก ซึ่งความเครียดหรือความวิตกกังวลนี้มักจะเกิดขึ้นมาจากความไม่สบายใจก่อนเป็นอันดับแรก และเมื่อนึกถึงเรื่องนั้นๆ หรือว่าสิ่งที่ได้สัมผัสมาก็จะทำให้รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่แยก ขนาดว่าเรื่องบางเรื่องสามารถติดค้างอยู่ในใจได้หลายปีเมื่อเจอเหตุการณ์ที่คล้ายกันก็อาจจะทำให้กลับมาเครียดและวิตกกังวลใหม่ได้
2.    ประเภทย้ำคิดย้ำทำ – เป็นโรคประสาทที่เกิดขึ้นจากอาการที่ว่ากลัว สมัคร betflik วิตกจริตในบางเรื่อง หรืออาจจะเกิดจากความขี้ลืมเมื่อได้กระทำสิ่งใดลงไปแล้วระยะเวลาผ่านไปสักพักก็จะคิดว่าได้ทำไปแล้วหรือยังจนทำให้เกิดการกระทำซ้ำๆ เดิมๆ จนกลายเป็นพฤติกรรมที่คนรอบข้างอาจจะมองว่าไม่ค่อยปกติสักเท่าไหร่นัก
3.    ประเภทหวาดกลัว – ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับคนที่ประสบพบเจอในเรื่องที่ค่อนข้างเลวร้ายมาก่อนจนทำให้เกิดความจำที่ฝังใจ เมื่อเจอสถานการณ์ในลักษณะใกล้เคียงหรือสันนิษฐานว่าจะนำพาไปสู่เรื่องราวที่เคยเกิดขึ้นกับตัวเองก็จะทำให้รู้สึกหวาดกลัว อาทิ คนเคยจะโดนข่มขืน, เคยโดนรถชนอย่างรุนแรง หรือเคยตกน้ำ เป็นต้น
4.    ประเภทซึมเศร้า – จะมีลักษณะเป็นโรคซึมเศร้า เกิดความขัดแย้งขึ้นภายในความคิดตัวเองบ่อยครั้ง มักเกิดขึ้นโดยที่ตัวเองไม่รู้ตัวและมีความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดการฆ่าตัวตายหรือทำร้ายตัวเองได้
5.    ประเภทการกระทำผิดปกติ – ซึ่งเป็นสิ่งที่เรามักจะได้เห็นกันบ่อยๆ พวกนี้จะแสดงออกมาทางพฤติกรรมอย่างตรงไปตรงมา ควบคุมสติตัวเองไม่ได้ ซึ่งเป็นอาการร่วมของคนวิกลจริตด้วย

neuralgia_pic

การรักษาโรคประสาทที่ถูกต้อง

1.    การไปพบแพทย์และทำตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี อาทิ การใช้ยา การพบจิตแพทย์ เป็นต้น
2.    การใช้จิตบำบัด – วิธีนี้เป็นวิธีที่คนส่วนใหญ่เมื่อรู้ตัวเองว่ามีอาการทางประสาทเบื้องต้นก็จะรีบดำเนินการด้วยการใช้จิตบำบัดตามอาการที่ตัวเองเป็น เป็นการปรับเปลี่ยนแนวความคิดและสร้างสรรค์ความคิดใหม่ๆ เพื่อไม่ให้ความคิดเดิมๆ เกิดขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะใช้คู่กับการทำพฤติกรรมบำบัดด้วย

neuralgia_pic_photo